การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ช่วงชั้นที่ ๑ (ป.๑ - ป.๓)

ระดับ
ชั้น
เวลาเรียน (คิดเป็นร้อยละต่อปี)
รวม
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษา
ต่าง
ประเทศ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ป.๑
ป.๒
ป.๓
๒๐๐
๒๐๐
๒๐๐
๒๐๐
๒๐๐
๒๐๐
๘๐
๘๐
๘๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๔๐
๔๐
๔๐
๔๐
๔๐
๔๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
,๐๐๐
,๐๐๐
,๐๐๐
รวม
๖๐๐
๖๐๐
๒๔๐
๒๔๐
๒๔๐
๒๔๐
๑๒๐
๑๒๐
๒๔๐
,๐๔๐


                               





 ·       จำนวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน เรียนทั้งปี เท่ากับ   ,๐๐๐  ชั่วโมง
                                ·       แผนการเรียนรู้/จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ คือ เด็กอ่านออกเขียนได้

ช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๔ - ป.๖)
ระดับชั้น
เวลาเรียน (คิดเป็นร้อยละต่อปี)
รวม
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษา
ต่าง
ประเทศ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ป.๔
ป.๕
ป.๖
๑๖๐
๑๖๐
๑๖๐
๑๖๐
๑๖๐
๑๖๐
๘๐
๘๐
๘๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
,๐๐๐
,๐๐๐
,๐๐๐
รวม
๔๘๐
๔๘๐
๒๔๐
๓๖๐
๒๔๐
๒๔๐
๒๔๐
๒๔๐
๓๖๐
,๐๐๐




    




·       จำนวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน เรียนทั้งปี เท่ากับ  ,๐๐๐  ชั่วโมง
                                                               ·       แผนการเรียนรู้/จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ คือ เด็กอ่านคล่อง     เขียนคล่อง  คิดวิเคราะห์ได้
  
ช่วงชั้นที่ ๓ (ม.๑ - ม.๓)


ระดับ ชั้น
เวลาเรียน (คิดเป็นร้อยละต่อปี)
รวม
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษา
ต่าง
ประเทศ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ม.๑
ม.๒
ม.๓
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
,๒๐๐
,๒๐๐
,๒๐๐
รวม
๓๖๐
๓๖๐
๓๖๐
๓๖๐
๒๔๐
๒๔๐
๒๔๐
๓๖๐
๓๖๐
,๖๐๐

·       จำนวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน เรียนทั้งปี เท่ากับ  ,๒๐๐ ชั่วโมง
                                                                    ·       แผนการเรียนรู้/จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ คือ เด็กอ่านในใจ   คิดวิเคราะห์  และนำ                                                                           ความรู้ไปใช้ในระดับที่สูงขึ้นได้ 

สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม

ชั้น
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
เวลาเรียน/ปี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ท ๑๑๒๐๑
การเขียนพื้นฐาน
๔๐
ชั้นประถมศึกษาปีที่๒
ท ๑๒๒๐๑
การเขียนดีลายมืองาม
๔๐
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ท ๑๓๒๐๑
การเขียนสรุปเรื่องที่อ่าน
๔๐
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ท ๑๔๒๐๒
การเขียนแนะนำหนังสือ
๔๐
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ท ๑๕๒๐๑
การเขียนนิทาน
๔๐
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ท ๑๖๒๐๑
การเขียนเสริมคุณธรรม
๔๐


สาระการเรียนรู้เพิ่มเติมระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ชั้น
ภาคเรียนที่ ๑
ภาคเรียนที่ ๒
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วย/เวลา
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วย/เวลา
ม.๑
ค๒๑๒๐๑

ว๒๑๒๐๑


ง๒๑๒๐๑
คณิตเพิ่มเติม

วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา


การใช้คอมพิวเตอร์และ Mircrosoft Word
๐.๕ (๒๐)

๑.๐ (๔๐)


๑.๐ (๔๐)
ค๒๑๒๐๒

ว๒๑๒๐๒


ง๒๑๒๐๒
คณิตเพิ่มเติม

โครงงานวิทยาศาสตร์

Microsoft Excel
๐.๕(๒๐)

๑.๐ (๔๐)


 ๑.๐(๔๐)
ม.๒
อ๒๒๒๐๑


ค๒๒๒๐๑

ง๒๒๒๐๑

English Discoveries


คณิตเสริม 

Mircrosoft     PowerPoint
๐.๕ (๒๐)


๐.๕ (๒๐)

๑.๐ (๔๐)
อ๒๒๐๒


ค๒๒๐๒

ง๒๒๒๐๒
English Discoveries

คณิตเสริม 

ภาษาโลโกและ การสร้างชิ้นงาน 
๐.๕(๒๐)


๐.๕(๒๐)

๑.๐ (๔๐)
ชั้น
ภาคเรียนที่ ๑
ภาคเรียนที่ ๒
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วย/เวลา
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่วย/เวลา
ท๒๒๒๐๑
การอ่านเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
๐.๕ (๒๐)
ท๒๒๐๒
วรรณกรรมท้องถิ่น 
ศรีสะเกษ
๐.๕(๒๐)
ม.๓
ค๒๑๒๐๑

ว๒๑๒๐๑


ง๒๑๒๐๑
คณิตเพิ่มเติม

วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา


การใช้คอมพิวเตอร์และ Mircrosoft Word
๐.๕ (๒๐)

๑.๐ (๔๐)


๑.๐ (๔๐)
ค๑๒๐๒ 

ว๒๑๒๐๒


ง๒๑๒๐๒
คณิตเพิ่มเติม

โครงงานวิทยาศาสตร์

Microsoft Excel
๐.๕(๒๐)

๑.๐(๔๐)


๑.๐ (๔๐)


   แหล่งเรียนรู้  ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้
                 ๑)  ห้องสมุดมีขนาด   ๔๘ ตารางเมตร  จำนวนหนังสือในห้องสมุดทั้งหมด  ,๒๐๐  เล่ม
                       การสืบค้นหนังสือและการยืม - คืนใช้ระบบ ดิวอี้
                       จำนวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษานี้  คิดเป็น  ๓๐  คน/วัน
๒) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
สถิติการใช้
(จำนวนครั้ง/ปี)
แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน
สถิติการใช้
(จำนวนครั้ง/ปี)
ชื่อแหล่งเรียนรู้
ชื่อแหล่งเรียนรู้
๑. ห้องสมุด
๒๐๐
๑.วัดโพธิ์มูลธรรม
๒๐
๒. ห้องคอมพิวเตอร์
๒๐๐
๒. วัดบ้านนาโพธิ์
๓. ห้องศูนย์สื่อ
๑๕๐
๓. วัดญาณสามัคคี
๔. ห้องพยาบาล
๑๕๐
๔. องค์การบริหารส่วนตำบลชำ
๕. ห้องวิทยาศาสตร์
๒๐๐
๕. ชุมชน(การเลี้ยงสัตว์)
๔๐
๖. ห้องปฏิบัติการทางภาษา
๒๐๐
๖. ไร่
๒๒
๗. แปลงผักสวนครัว
๑๘๐
๗. สวนผลไม้  สวนยางพารา
๒๒
๘. สวนตะไคร้
๑๘๐
๘. ทุ่งนา
๒๒
๙. บ่อปลา
๑๘๐
๙. ร้านค้าชุมชน
๑๑
๑๐. สวนมันสำปะหลัง
๑๒๐
๑๐. ทัศนศึกษาภายในจังหวัด
๑๑. สวนสมุนไพร
๒๐๐
๑๑. ทัศนศึกษาต่างจังหวัด
๑๒. สวนแก้วมังกร
๑๒๐
๑๓. สวนยางพารา
๑๒๐

๔. ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ผู้ทรงคุณวุฒิ  ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู  นักเรียน  ในปีการศึกษานี้

                ๑. นายทวี  นวนแย้ม                                  ให้ความรู้เรื่อง                           การปลูกยางพารา
               ๒. นางสาวลักษิกา  เนียมจิตต์                      ให้ความรู้เรื่อง                           การเลี้ยงจิ้งหรีด
                ๓. พระครูสมานพรหมคุณ                         ให้ความรู้เรื่อง                           อบรมจริยธรรม/พระพุทธศาสนา
                ๔. นางคำผอง  รัตนะพันธ์                           ให้ความรู้เรื่อง                           การทำพานบายศรี
                ๕. นายสุชาติ  สังข์ทอง                               ให้ความรู้เรื่อง                           การทำกระถางจากยางรถยนต์
                 ๖. นายธีระพงษ์  หวนคนึง                         ให้ความรู้เรื่อง                           กีฬาไทยและกีฬาพื้นบ้าน
๗. นางถิ่น  สังข์ทอง                                   ให้ความรู้เรื่อง                           การทำขนม/การทำอาหาร
๘. นางสงัด  นวนแย้ม                                 ให้ความรู้เรื่อง                           การทอเสื่อ/การทอผ้า
๙. นายเร็ด  หวนคนึง                                  ให้ความรู้เรื่อง                           การจักสาน
๑๐. นายจำเนียร  มั่นชาติ                            ให้ความรู้เรื่อง                           การตกแต่งภูมิทัศน์
๑๑. นายประวิทย์  ประสิทธิ์                        ให้ความรู้เรื่อง                           การเล่นดนตรีพื้นบ้าน       
๑๒. นายจำเนียร  มั่นชาติ                           ให้ความรู้เรื่อง                           การเสริมสวย
๑๓. นายชิม  เนียมจิตร                               ให้ความรู้เรื่อง                           การทำไม้กวาด
๑๔. นางพันทิพย์  แป้นชุมแสง                     ให้ความรู้เรื่อง                           การเย็บปักถักร้อย

๑๕. นายสังคม  เตอุตลวง                            ให้ความรู้เรื่อง                           ช่างทำเฟอร์นิเจอร์ไม้